สมการไคลน์-กอร์ดอน (Klein-Gordon Equation)

#IFConceptualPhysics2 ————————————-  สมการไคลน์-กอร์ดอน ( #KleinGordonEquation )  —————————————-  สมการ ที่มาจากความพยายาม รวมกลศาสตร์ควอนตัมกับทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษเข้าไว้ในสมการเดียวกัน เราจะอภิปรายกันในโพสต์นี้ ว่าความพยายามดังกล่าวนี้ประสบความสําเร็จมากหรือน้อยเพียงใด —————————————–  พิเชฐ วณิชชาพงศ์เจริญ, วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน, มหาวิทยาลัยนเรศวร —————————————–  No.1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) >>> https://wow.in.th/bd6w7 —————————————- #UniversityPhysics #ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย #ConceptualPhysics #IFNU

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022

Klein-Gordon Equation (สมการไคลน์-กอร์ดอน)

#IFConceptualPhysics2  สมการไคลน์-กอร์ดอน ( #KleinGordonEquation )   สมการ ที่มาจากความพยายาม รวมกลศาสตร์ควอนตัมกับทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษเข้าไว้ในสมการเดียวกัน เราจะอภิปรายกันในโพสต์นี้ ว่าความพยายามดังกล่าวนี้ประสบความสําเร็จมากหรือน้อยเพียงใด  พิเชฐ วณิชชาพงศ์เจริญ, วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน, มหาวิทยาลัยนเรศวร  No.1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) >>> https://wow.in.th/bd6w7 #UniversityPhysics #ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย #ConceptualPhysics #IFNU

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022

กฏของเกาส์ (Gauss’s law)

#IFConceptualPhysicsNo1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) ว่าด้วย ฟลักซ์ไฟฟ้าสุทธิที่ผ่านผิวปิดใดๆ จะแปรผันตรงกับขนาดประจุสุทธิในผิวปิดนั้น โดยที่ฟลักซ์ไฟฟ้ามองง่ายได้ว่าเป็นจำนวนเส้นแรงสนามไฟฟ้าที่ทะลุผ่านพื้นที่หนึ่งหน่วย(ทิศพุ่งออกตั้งฉากกับผิวที่พิจารณา) ดังนั้นจากใจความของกฎของเกาส์ทำให้เรามองได้ว่า หากมีประจุ +q วางอยู่ในผิวปิด S ฟลักซ์ไฟฟ้าที่ทะลุผิวปิด S ก็จะมีค่าค่าหนึ่งที่เป็นบวก(เส้นแรงสนามไฟฟ้าที่มีทิศพุ่งออกจากประจุทะลุผิวปิด S) หากเราเปลี่ยนเอาประจุ +Q ซึ่งมีขนาดโตกว่า +q เอาไปวางแทน ฟลักซ์ไฟฟ้าที่ทะลุผ่านผิวปิด S จะมีค่าบวกโตกว่ากรณีแรก ตรงนี้มองได้ว่าสำหรับกรณีประจุ +Q นั้นจำนวนเส้นแรงสนามไฟฟ้าที่ทะลุผ่านผิวปิดมีค่ามากกว่ากรณีประจุ +q แน่นอนว่าหากเราเปลี่ยนจากประจุบวกเป็นประจุลบทุกอย่างยังเหมือนเดิมเปลี่ยนแค่เครื่องหมายเท่านั้น(เส้นแรงไฟฟ้าที่มีทิศพุ่งเข้าหาประจุทะลุผิวปิด S) […]

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022

Gauss’s law (กฏของเกาส์)

#IFConceptualPhysicsNo1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) ว่าด้วย ฟลักซ์ไฟฟ้าสุทธิที่ผ่านผิวปิดใดๆ จะแปรผันตรงกับขนาดประจุสุทธิในผิวปิดนั้น โดยที่ฟลักซ์ไฟฟ้ามองง่ายได้ว่าเป็นจำนวนเส้นแรงสนามไฟฟ้าที่ทะลุผ่านพื้นที่หนึ่งหน่วย(ทิศพุ่งออกตั้งฉากกับผิวที่พิจารณา) ดังนั้นจากใจความของกฎของเกาส์ทำให้เรามองได้ว่า หากมีประจุ +q วางอยู่ในผิวปิด S ฟลักซ์ไฟฟ้าที่ทะลุผิวปิด S ก็จะมีค่าค่าหนึ่งที่เป็นบวก(เส้นแรงสนามไฟฟ้าที่มีทิศพุ่งออกจากประจุทะลุผิวปิด S) หากเราเปลี่ยนเอาประจุ +Q ซึ่งมีขนาดโตกว่า +q เอาไปวางแทน ฟลักซ์ไฟฟ้าที่ทะลุผ่านผิวปิด S จะมีค่าบวกโตกว่ากรณีแรก ตรงนี้มองได้ว่าสำหรับกรณีประจุ +Q นั้นจำนวนเส้นแรงสนามไฟฟ้าที่ทะลุผ่านผิวปิดมีค่ามากกว่ากรณีประจุ +q แน่นอนว่าหากเราเปลี่ยนจากประจุบวกเป็นประจุลบทุกอย่างยังเหมือนเดิมเปลี่ยนแค่เครื่องหมายเท่านั้น(เส้นแรงไฟฟ้าที่มีทิศพุ่งเข้าหาประจุทะลุผิวปิด S) […]

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022
1 2