โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยใช้ Python

โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยใช้ Python วันที่ 21 เมษายน 2564 ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทต่อการเรียนการสอนมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างสื่อการเรียนการสอนที่สามารถทำให้ผู้เรียนได้เห็นภาพเนื้อหาชัดเจน และดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้ง่าย ในปัจจุบันนี้การผลิตสื่อการเรียนการสอนสามารถทำได้ไม่ยากเนื่องจากโปรแกรมที่พัฒนาให้สามารถใช้ได้ง่ายโดยที่ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์อย่างลึกซึ้ง หรือทางด้านกราฟฟิกดีไซน์มากนัก แต่กระนั้นทักษะการเขียนโปรแกรมขึ้นพื้นฐานยังมีความสำคัญในการผลิตสื่อการเรียนการสอนอยู่ดี โปรแกรม Python เป็นโปรแกรมประเภท Open-source ที่สามารถโหลดมาใช้งานได้ฟรีโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างไร อีกทั้งโปรแกรม Python ยังเป็นโปรแกรมที่ได้รับการยอมรับจากนักเขียนโปรแกรมทั่วโลกว่าง่ายต่อการเรียนรู้ โปรแกรม Python มี Library เสริมที่ช่วยเพิ่มขอบเขตการใช้งานของโปรแกรมให้กว้างยิ่งขึ้นรวมถึงการสร้าง animation เคลื่อนไหวอย่างง่าย ๆ เช่น Matplotlib หรือ […]

The Institute for Fundamental Study

February 23, 2022

โครงการอุณหพลศาสตร์หลุมดำ (Black Hole Thermodynamics) – ยกเลิกโครงการฯชั่วคราว

โครงการอุณหพลศาสตร์หลุมดำ (Black Hole Thermodynamics) – ยกเลิกโครงการฯชั่วคราว วันที่ 23 – 25 เมษายน 2564 ในปัจจุบันนิสิตนักศึกษาที่มีความสนใจในศึกษาและทำวิจัยทางด้านฟิสิกส์หลุมดำ มีมหาวิทยาลัยในประเทศไทยจำนวนไม่มากนัก ที่สามารถรองรับความต้องการในส่วนนี้ได้ ดังนั้นการอบรมในครั้งนี้จะมุ่งเน้นไปที่การให้องค์ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์หลุมดำและอุณหพลศาสตร์ ในหัวข้อ Black Hole Thermodynamics ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการ และรวมไปถึงอาจจะเป็นการกระตุ้นให้นิสิตนักศึกษา หันมาสนใจในงานวิจัยทางด้านนี้อีกด้วย อีกทั้งยังเป็นการทำให้อาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษาจากต่างสถาบัน ได้ทำความรู้จักกันมากขึ้น ซึ่งอาจจะนำไปสู่การทำวิจัยร่วมกัน ของบุคลลากรต่างสถาบัน […]

The Institute for Fundamental Study

February 23, 2022

โครงการจากอณูสู่อนันต์-ฟิสิกส์อนุภาคสำหรับครู – เลื่อนอย่างไม่มีกำหนด

โครงการจากอณูสู่อนันต์-ฟิสิกส์อนุภาคสำหรับครู – เลื่อนอย่างไม่มีกำหนด วันที่ 2 – 3 พฤษภาคม 2564 ปัจจุบันเนื้อหาในส่วนของฟิสิกส์อนุภาคถูกบรรจุไว้การเรียนการสอนฟิสิกส์ในระดับมัธยมปลาย โดยเนื้อหาในส่วนนี้มีความยากในการทำความเข้าใจเพราะเกี่ยวข้องกับฟิสิกส์ระดับสูงในหลายสาขา ได้แก่ ทฤษฎีสนามควอนตัม ดังนั้นโครงการนี้ถูกจัดขึ้นมาเพื่อทำการสื่อสารเนื้อหาในส่วนของฟิสิกส์อนุภาคสำหรับครูและบุคคลที่สนใจในแบบโครงเรื่องตามประวัติศาสตร์การค้นพบอนุภาคต่างๆ อีกทั้งยังกล่าวถึงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวผ่านฟิสิกส์อนุภาค สุดท้ายจะได้กล่าวถึงปัญหาที่นักฟิสิกส์ยังคงต้องตามหาคำตอบ วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มความรู้และมุมมองพื้นฐานเกี่ยวกับฟิสิกส์อนุภาคครูและให้กับนักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่สนใจ ผู้เข้าอบรมจะได้เรียนรู้หัวข้อดังต่อไปนี้ แนวคิดเรื่ององค์ประกอบของสรรพสิ่งในยุคโบราณ แนวคิดเกี่ยวกับการปฎิวัติความเข้าใจวิทยาศาสตร์ เส้นเวลาของฟิสิกส์ควอนตัมและจุดเริ่มต้นของฟิสิกส์อนุภาค แรงพื้นฐานในธรรมชาติและแบบจำลองมาตรฐาน ฟิสิกส์อนุภาคและจักรวาลวิทยา ปัญหาปลายเปิดต่าง ๆ เช่น ปฎิอนุภาค สสารมืด พลังงานมืด […]

The Institute for Fundamental Study

February 23, 2022

โครงการฟังก์ชันกรีนในกลศาสตร์ควอนตัม (Green’s Function in Quantum Mechanics)

โครงการฟังก์ชันกรีนในกลศาสตร์ควอนตัม (Green’s Function in Quantum Mechanics) วันเสาร์ที่ 5 – วันอาทิตย์ที่ 6 มิถุนายน 2564, ผ่านระบบออนไลน์ (Zoom) ทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมเป็นพื้นฐานและหัวใจสำคัญสำหรับเทคโนโลยีในปัจจุบัน การจะพัฒนาประเทศชาติอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในทางเทคโนโลยีนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กล่าวคือ นิสิต นักศึกษา อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิจัย และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เช่น ทางด้านโรงงาน อุตสาหากรรม […]

The Institute for Fundamental Study

February 23, 2022

โครงการอบรมระยะสั้นควอนตัมฟิสิกส์(ดำดิ่งสู่โลกระดับอณู)

โครงการอบรมระยะสั้นควอนตัมฟิสิกส์(ดำดิ่งสู่โลกระดับอณู) Saturday 21st – Sunday 22nd August 2021 (Online by Zoom) ปัจจุบันสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงการเปลี่ยนแปลงด้านศาสตร์การวิเคราะห์ข้อมูล ทำให้องค์ความรู้ในด้านเกี่ยวกับพื้นฐานด้านสถิติ และขั้นตอนที่ชาญฉลาดสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การเตรียมข้อมูล มีความจำเป็นอย่างยิ่ง บวกกับเทคโนโลยีได้เข้ามีมีบทบาทที่ทำให้ศาสตร์การวิเคราะห์ข้อมูล ทำได้งานและสะดวกยิ่งขึ้น อีกทั้งโปรแกรม Python เป็นโปรแกรมประเภท Open-source ที่สามารถโหลดมาใช้งานได้ฟรีโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างไร อีกทั้งโปรแกรม Python ยังเป็นโปรแกรมที่ได้รับการยอมรับจากนักเขียนโปรแกรมทั่วโลกว่าง่ายต่อการเรียนรู้ […]

The Institute for Fundamental Study

February 23, 2022

โครงการอบรมระยะสั้นควอนตัมฟิสิกส์ (ดำดิ่งสู่โลกระดับอณู)

โครงการอบรมระยะสั้นควอนตัมฟิสิกส์(ดำดิ่งสู่โลกระดับอณู) Saturday 28th – Sunday 29th August 2021 (Online by Zoom) ปัจจุบันเนื้อหาในส่วนของฟิสิกส์ควอนตัมนั้นถือได้ว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก อันเนื่องจากการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีรากฐานจากความประหลาดของโลกในระดับอะตอมที่มีแอบซ้อนตัวอยู่ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ เลเซอร์ เครื่องสแกน NMR เป็นต้น ในปัจจุบันนักฟิสิกส์ วิศวกร และนักคอมพิวเตอร์ ได้มีความร่วมมือในการวิจัยทั้งในเชิงทฤษฎีและเชิงการทดลองที่มีความก้าวมากขึ้นอันมีการคาดการว่าจะนำไปสู่เทคโนโลยีควอนตัมแบบใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็น การเข้ารหัสเชิงควอมตัม การส่งสถานะควอนตัม หรือ ควอนตัมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น […]

The Institute for Fundamental Study

February 23, 2022

โครงการ Differential forms and application in physics (สมการฟิสิกส์ที่คุ้นเคยกำเนิดในร่างใหม่)

โครงการ Differential forms and application in physics (สมการฟิสิกส์ที่คุ้นเคยกำเนิดในร่างใหม่) วันเสาร์ ที่ 25 – วันอาทิตย์ ที่ 26 ธันวาคม 2564 (Online by Zoom) การศึกษาฟิสิกส์ในขั้นสูงนั้นจำเป็นต้องการพื้นฐานคณิตศาสตร์ที่ดีและเนื้อหาคณิตศาสาตร์ขั้นสูงต่างๆ รูปอนุพันธ์นั้นถือได้ว่าเป็นเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่มีความสำคัญต่อการศึกษาและทำความเข้าใจฟิสิกส์ขั้นสูง ในการอบรมระยะสั้น 2 วันนี้จะเป็นการเตรียมพื้นฐานเกี่ยวกับรูปอนุพันธ์และการนำไปประยุกต์ใช้ในฟิสิกส์แขนงต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น กลศาสตร์ฮามิลตัน กลศาสตร์ลากรองจ์ หรือ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า […]

The Institute for Fundamental Study

February 23, 2022

สถานะของระบบกลศาสตร์

#IFConceptualPhysicsNo4 สถานะของระบบกลศาสตร์ลองพิจารณาลูกตุ้มนาฬิกาในรูปที่ 1 แล้วลองพยายามตอบว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งขึ้นหรือลง แน่นอนจากรูปที่ 1 ไม่มีใครสามารถบอกได้ว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งอย่างไร เพราะเรามีข้อมูลไม่เพียงพอ แล้วข้อมูลอะไรบ้างที่เราจำเป็นต้องรู้ เพื่อกำหนดสถานะของระบบทางกลศาสตร์ สิ่งหนึ่งที่เราต้องรู้เพื่อระบุว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งอย่างไรนั้น ก็คือ ความเร็วของลูกตุ้มว่ามีทิศทางอย่างไร มีขนาดเท่าไหร่ เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น ให้เราพิจารณากฎข้อ 2 ของนิวตันดังนี้ F = m a = p’ โดย F คือแรงที่กระทำบนมวล m ซึ่งจะทำให้เกิดความเร่ง a […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022
1 4 5