The 7th SIP+ Fest School “Classical Dynamics”

The 7th SIP+ Fest School “Classical Dynamics”

" โอกาสงามแจ่ม สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ที่จะได้เรียนรู้กระบวนทัศน์และศาสตร์เสาหลักพื้นฐานของฟิสิกส์ "

โรงเรียนเทศกาลแห่ง SIP+ Consortium ครั้งที่ 7 “พลศาสตร์คลาสสิก”

(updated 19.02 น. ศุกร์ที่ 13 พค. 2565)

โดยเครือข่ายความร่วมมือของคณาจารย์ฟิสิกส์ใน 20 สถาบันอุดมศึกษา SIP+ Consortium โดย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา จัดกิจกรรม ณ ที่ตั้ง ณ อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา รับผู้เข้าร่วมไม่เกิน 30 คน

สนับสนุนโดย

วันอังคารที่ 17 - วันเสาร์ที่ 21 พฤษภาคม 2565


Lecturers:

  • ทศพร อังสาชน (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  • พงศพัศ แรงดี (คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา)
  • สรายุทธ พานเทียน (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี)
  • อร่าม ชนะโชติ (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา)
  • บุรินทร์ กำจัดภัย (ศูนย์ฟิสิกส์ทฤษฎีและปรัชญาธรรมชาตินครสวรรค์ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล)
  • เสกสรร สุขะเสนา (วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน มหาวิทยาลัยนเรศวร)

Scientific Organizing Committee (SoC)

  • บุรินทร์ กำจัดภัย - NAS มหาวิทยาลัยมหิดล - ประธานกรรมการวิทยาศาสตร์
  • ศุภปิยะ สิรนันท์ - มทร.อิสาน
  • ยิ่งยศ อินฟ้าแสง - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • สิขรินทร์ อยู่คง - IF มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • นิติศักดิ์ ปาสาจะ - มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Local Organizers (LoC) ARU team คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

  • ผศ.ดร.วิมลพรรณ รุ่งพรหม (Chair of LoC)
  • ผศ.ดร.ภัททิรา หอมหวล (Co-Chair of LoC)
  • ผศ.อร่าม ชนะโชติ
  • อาจารย์ ดร. จินดาวรรณ ธรรมปรีชา
  • อาจารย์ ดร. ศิริวัชร์ อาลักษณสุวรรณ
  • อาจารย์ กาญจนา สาธุพันธ์

ค่าลงทะเบียน (รวมที่พัก(สำหรับนักศึกษา) อาหารเช้า อาหารกลางวัน อาหารว่าง อาหารเย็น และหนังสือ) จำนวนรับเข้าร่วม 30 คน

  • ไม่มีค่าลงทะเบียนสำหรับนักศึกษาและศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษาหลังปี 2560 ของ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (จำกัดที่นั่งเพียง 8 คน)
  • ค่าลงทะเบียน 400 บาท สำหรับนักศึกษาและบุคลากรทุกระดับของสถาบันในเครือข่าย SIP+ (จำกัดรับนักศึกษาไม่เกินสถาบันละ 5 คน)
  • ค่าลงทะเบียน 700 บาท สำหรับนักศึกษาและบุคลากรทุกระดับของสถาบันสังเกตุการณ์ในเครือข่าย SIP+ (จำกัดรับนักศึกษาไม่เกินสถาบันละ 5 คน)
  • ค่าลงทะเบียน 2,000 บาท สำหรับนักศึกษาทุกระดับจากสถาบันอื่นๆ (จำกัดรับนักศึกษาจากสถาบันอื่นๆไม่เกิน 5 คน)
  • ค่าลงทะเบียน 4,000 บาท สำหรับบุคลากรองค์กรอื่นๆและบุคคลทั่วไป (จำกัดไม่เกิน 5 คน)
  • คณะกรรมการวิทยาศาสตร์สงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบุคคลเข้าร่วมกิจกรรมนี้

[กรอกข้อมูลเพื่อลงทะเบียนออนไลน์]

ประกาศรายชื่อผู้ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วม 7th SIP+ Fest School

 

ลำดับที่ ชื่อ-นามสกุล สถาบันการศึกษาที่สังกัด
1 นายอภิวัฒน์ สุขขีวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
2 นายนนทวัฒน์ กองกวี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
3 นางสาวปนัญชยา หาฤกษ์ดี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
4 นายธนวัฒน์ ผานาค มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
5 นางสาวศิริรัตน์ งีสันเทียะ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
6 นางสาวพลอย งามนิมิตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
7 นางสาวแพรว งามนิมิตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
8 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนวัฒน์ รังสูงเนิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
9 อาจารย์วราวุธ สอาดสิน มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
10 อาจารย์พิทยา ทิพเนตร โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม
11 นายสืบสกุล คนดารา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
12 นายวัฒนชัย ยิ้มละมูล มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
13 นายตันติกร อ่อนแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
14 นายกฤติพงศ์ อัครเสถียรพงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
15 อาจารย์ ดร.นุวัติ  พิมพะบุตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
16 นายณรงค์ศักดิ์  สอนสุภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
17 นายพีรภัทร  สุ่มมาตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
18 นางสาวอาทิตยา  ดูลา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
19 นางสาวสุธิตรา  บุญทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
20 นางสาวเพ็ญประภา  ฝากเซียงซา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

 

เงื่อนไข

  • ต้องลงทะเบียนออนไลน์และได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้าร่วมกิจกรรมก่อนเท่านั้น (จำกัดจำนวนคนเนื่องจากสถานการณ์ระบาดของโรค)
  • วันสุดท้ายของการลงทะเบียนออนไลน์คือ 10 พค. 2565 (17.00 น)
  • วันประกาศผลการคัดเลือกคือ 12 พค. 2565 (17.00 น)
  • เมื่อได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้าร่วมแล้ว ต้องชำระค่าลงทะเบียนโดยการโอนเงินออนไลน์ ภายในวันที่ 16 พค. 2565 (16.30 น.)
    โอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงเทพ สาขา อยุธยา
    ชื่อบัญชี   "มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (งานบริการวิชาการและฝึกอบรม)"
    เลขที่บัญชี   322-525516-9

ที่พัก

หากประสงค์จะพักในสถานที่ที่จัดให้ที่ตั้งแต่คืนวันที่ 16-20 พ.ค. 2565  (สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ -NARIT) ในห้องพักในโรงแรมในหอพักนักศึกษา กิจกรรมบรรยายและ tutorial ภาคกลางคืนจะจัดที่อาคาร 100 ปี ซึ่งอยู่บริเวณใกล้กัน (ไม่มีการเก็บค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)

การตรวจ ATK

  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนจะต้องได้รับการตรวจ ATK ในวันแรกของกิจกรรม

ข้อมูลเพิ่มเติม

  • ผศ.ดร.ภัททิรา หอมหวล:
  • FB pattira.homhuan
  • Tel. 091 499 2469

เนื้อหา

เนื้อหาครอบคลุมรายวิชา กลศาสตร์ 1 และ กลศาสตร์ 2 ของหลักสูตรวิชาเอกฟิสิกส์ระดับปริญญาตรี ตามหนังสือ กลศาสตร์เชิงวิเคราะห์ (พิมพ์ครั้งที่ 2, 2548) โดย พิเชษฐ ลิ้มสุวรรณ ผู้เข้าร่วมโครงการจะได้รับแจกฉบับถ่ายเอกสารของหนังสือนี้ (การถ่ายเอกสารได้รับการอนุญาติจาก ศาตราจารย์ ดร. พิเชษฐ ลิ้มสุวรรณ ผู้เขียน) วิทยากรผู้บรรยายจะสอดแทรกแนวคิดและทัศนะทางวิชาการของแต่ละคนในการบรรยายใน School นี้


กำหนดการ (Scientific Program) 25 lectures + 3 tutorials

วันอังคารที่ 17 พ.ค. 2565

  • 8.30 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนตรวจ ATK ที่อาคาร 100 ปี
  • 9.00 Opening โดย อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • 9.10-9.15 สุนทรพจน์โดย ศาสตราจารย์ ดร. พิเชษฐ ลิ้มสุวรรณ
  • 9.15-9.20 สุนทรพจน์โดย ดร. จิรวัฒน์ ตั้งปณิธานนท์  CEO & Co-founder ผู้ร่วมก่อตั้งและ CEO ของ QTFT
  • 9.20 ถ่ายรูปหมู่
  • 9.30-10.30 L1: โครงสร้างเชิงกระบวนทัศน์ของพลศาสตร์คลาสสิก (บุรินทร์ กำจัดภัย NAS มหาวิทยาลัยมหิดล)
  • 10.30-10.40 | 10 min. break
  • 10.40-11.40 L2: บทที่ 1 พื้นฐานกลศาสตร์นิวตัน (พงศพัศ แรงดี มหาวิทยาลัยพะเยา)
  • 11.40-12.40 L3: การเคลื่อนที่ของวัตถุในหนึ่งมิติ I (พงศพัศ แรงดี มหาวิทยาลัยพะเยา)
  • 12.40-14.00 | lunch และแบ่งกลุ่ม tutorial เป็น 3 กลุ่มย่อย กลุ่มละ 6-7 คน
  • 14.00-15.00 L4: การเคลื่อนที่ของวัตถุในหนึ่งมิติ II (พงศพัศ แรงดี มหาวิทยาลัยพะเยา)
  • 15.00-15.15 | 15 min. break
  • 15.15-16.15 L5: การเคลื่อนที่ของวัตถุในสองและสามมิติ I (หัวข้อ 3.1-3.5) (สรายุทธ พานเทียน มรภ. เทพสตรี)
  • 16.15-17.15 L6: การเคลื่อนที่ของวัตถุในสองและสามมิติ II (หัวข้อ 3.6-3.7) (อร่าม ชนะโชติ มรภ. พระนครศรีอยุธยา)
  • 19.30-20.30 Tutorial 1 (คณาจารย์ SIP+ 3 ทีม)

วันพุธที่ 18 พ.ค. 2565

  • 9.30-10.30 L7: การเคลื่อนที่ของวัตถุในสองและสามมิติ III (หัวข้อ 3.8) (อร่าม ชนะโชติ มรภ.พระนครศรีอยุธยา)
  • 10.30-10.40 | 10 min. break
  • 10.40-11.40 L8: การเคลื่อนที่ของวัตถุในสองและสามมิติ IV (หัวข้อ 3.9-3.10 (กฎของเคปเลอร์)) (อร่าม ชนะโชติ มรภ. พระนครศรีอยุธยา)
  • 11.40-12.40 L9: การเคลื่อนที่ของวัตถุในสองและสามมิติ V (หัวข้อ 3.11 (การกระเจิงรัทเธอร์ฟอร์ด)) (บุรินทร์ กำจัดภัย NAS มหาวิทยาลัยมหิดล)
  • 12.40-14.00 | lunch
  • 14.00-15.00 L10: การเคลื่อนที่ของวัตถุในสองและสามมิติ VI (หัวข้อ 3.12-3.14) (สรายุทธ พานเทียน มรภ. เทพสตรี)
  • 15.00-15.15 | 15 min. break
  • 15.15-16.15 L11: การเคลื่อนที่ของวัตถุในสองและสามมิติ VI (หัวข้อ 3.12-3.14) (สรายุทธ พานเทียน มรภ. เทพสตรี)
  • 16.15-17.15 L12: การเคลื่อนที่ของระบบวัตถุ I (หัวข้อ 4.1-4.4) (บุรินทร์ กำจัดภัย NAS มหาวิทยาลัยมหิดล)
  • 19.30-20.30 Tutorial 2 (คณาจารย์ SIP+ 3 ทีม)

วันพฤหัสบดีที่ 19 พ.ค. 2565

  • 9.30-10.30 L13: การเคลื่อนที่ของระบบวัตถุ II (หัวข้อ 4.5-4.7) (บุรินทร์ กำจัดภัย NAS มหาวิทยาลัยมหิดล)
  • 10.30-10.40 | 10 min. break
  • 10.40-11.40 L14: วัตถุแข็งเกร็ง I (หัวข้อ 5.1-5.2) (บุรินทร์ กำจัดภัย NAS มหาวิทยาลัยมหิดล)
  • 11.40-12.40 L15: วัตถุแข็งเกร็ง II (หัวข้อ 5.3-5.4) (บุรินทร์ กำจัดภัย NAS มหาวิทยาลัยมหิดล)
  • 12.40-14.00 | lunch
  • 14.00-15.00 L16: ระบบพิกัดแบบเคลื่อนที่ I (หัวข้อ 6.1-6.3) (ทศพร อังสาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  • 15.00-15.15 | 15 min. break และปล่อยเดินเที่ยวตามฟรีสไตล์สบายทีน
  • 18.00-20.30 | Fest School Reception Dinner ที่ อาคารท้องฟ้าจำลอง (สนับสนุนโดย QTFT)

วันศุกร์ที่ 20 พ.ค. 2565

  • 9.30-10.30 L17: ระบบพิกัดแบบเคลื่อนที่ II (หัวข้อ 6.4-6.6) (ทศพร อังสาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  • 10.30-10.40 | 10 min. break
  • 10.40-11.40 L18: พลศาสตร์ลากรางจ์ I (หัวข้อ 7.1-7.5) (ทศพร อังสาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  • 11.40-12.40 L19: พลศาสตร์ลากรางจ์ II (หัวข้อ 7.6-7.7) (ทศพร อังสาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  • 12.40-14.00 | lunch
  • 14.00-15.00 L20: พลศาสตร์ลากรางจ์ III (หัวข้อ 7.8-7.9) (ทศพร อังสาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  • 15.00-15.15 | 15 min. break
  • 15.15-16.15 L21: พลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง I (หัวข้อ 8.1-8.2) (เสกสรร สุขะเสนา IF มหาวิทยาลัยนเรศวร)
  • 16.15-17.15 L22: พลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง II (หัวข้อ 8.3-8.5) (เสกสรร สุขะเสนา IF มหาวิทยาลัยนเรศวร)
  • 19.30-20.30 Tutorial 3 (คณาจารย์ SIP+ 3 ทีม)

วันเสาร์ที่ 21 พ.ค. 2565

  • 9.30-10.30 L23: พลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง III (หัวข้อ 8.6-8.9) (เสกสรร สุขะเสนา IF มหาวิทยาลัยนเรศวร)
  • 10.30-10.40 | 10 min. break
  • 10.40-11.40 L24: พลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง IV (หัวข้อ 8.10-8.13) (เสกสรร สุขะเสนา IF มหาวิทยาลัยนเรศวร)
  • 11.40-12.40 L25: สรุปภาพเนื้อหาและแผนที่ของเนื้อหา และการประยุกต์ในการวิจัยทางจักรวาลวิทยา (บุรินทร์ กำจัดภัย NAS มหาวิทยาลัยมหิดล)
  • 12.40-13.20 | พิธีปิด และ lunch
  • 13.20-14.00 | ประชุมเครือข่าย SIP+ ถึงการจัด Fest School ครั้งถัดไป
  • 14.00 break
ผู้ดูแลเพจ: บุรินทร์ กำจัดภัย (ประธาน SIP+ Fest School SoC)