สถานะควอนตัมบริสุทธิ์ VS สถานะควอนตัมผสม (Pure states VS Mixed States)

#IFConceptualPhysicsNo7 ———————————-  สถานะควอนตัมบริสุทธิ์ VS สถานะควอนตัมผสม ———————————-  Pure states VS Mixed States ———————————- เชื่อว่านักศึกษาฟิสิกส์หลายๆคนเมื่อได้เรียนวิชาควอนตัมเชิงสถิติแล้วเจอกับ สถานะควอนตัมบริสุทธิ์ และสถานะควอนตัมผสม แล้วอาจจะงงๆ หน่อย ว่าเออมันต่างกันยังไง วันนี้ทางเพจจะมาขออธิบายผ่านตัวอย่างการอบขนมปังเพื่อเตรียมไว้สำหรับเลี้ยงรับรองในงานสัมมนาวิชาการควอนตัมเชิงสถิติ กล่าวคือ เราต้องการอบขนมปังสูตรพิเศษแบบหนึ่ง แต่ทำการอบผ่านเครื่องอบขนมปัง 2 ชนิดที่ต่างกัน เครื่องแรกเป็นแบบดิจิทัล อีกเครื่องเป็นแบบอนาลอก สำหรับการทดลองนี้ อุณหภูมิคือ ปริมาณที่ต้องการควบคุม (นอกจากนั้นแล้วยังมีระยะเวลาและส่วนประสมสูตรขนมปังซึ่งในที่นี้ให้เหมือนกันทุกครั้งที่ทำการอบ […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

Pure states VS Mixed States (สถานะควอนตัมบริสุทธิ์ VS สถานะควอนตัมผสม)

#IFConceptualPhysicsNo7 ———————————-  สถานะควอนตัมบริสุทธิ์ VS สถานะควอนตัมผสม ———————————-  Pure states VS Mixed States ———————————- เชื่อว่านักศึกษาฟิสิกส์หลายๆคนเมื่อได้เรียนวิชาควอนตัมเชิงสถิติแล้วเจอกับ สถานะควอนตัมบริสุทธิ์ และสถานะควอนตัมผสม แล้วอาจจะงงๆ หน่อย ว่าเออมันต่างกันยังไง วันนี้ทางเพจจะมาขออธิบายผ่านตัวอย่างการอบขนมปังเพื่อเตรียมไว้สำหรับเลี้ยงรับรองในงานสัมมนาวิชาการควอนตัมเชิงสถิติ กล่าวคือ เราต้องการอบขนมปังสูตรพิเศษแบบหนึ่ง แต่ทำการอบผ่านเครื่องอบขนมปัง 2 ชนิดที่ต่างกัน เครื่องแรกเป็นแบบดิจิทัล อีกเครื่องเป็นแบบอนาลอก สำหรับการทดลองนี้ อุณหภูมิคือ ปริมาณที่ต้องการควบคุม (นอกจากนั้นแล้วยังมีระยะเวลาและส่วนประสมสูตรขนมปังซึ่งในที่นี้ให้เหมือนกันทุกครั้งที่ทำการอบ […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

 สเกลาร์เทียม เวกเตอร์เทียม

#IFConceptualPhysicsNo6  สเกลาร์เทียม เวกเตอร์เทียม  วิธีการนิยามปริมาณทางฟิสิกส์ว่าเป็นปริมาณเทนเซอร์ประเภทใด…  พิเชฐ วณิชชาพงศ์เจริญ, วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน, มหาวิทยาลัยนเรศวร  No.1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) >>> https://wow.in.th/bd6w7  No.2 สมการไคลน์-กอร์ดอน (#KleinGordonEquation) >>> https://wow.in.th/3cOU1  No.3 การอธิบายการวัดใน #กลศาสตร์ควอนตัม (ขั้นต้น)>>> https://wow.in.th/pS2rx  No.4 สถานะของระบบกลศาสตร์ >>> https://wow.in.th/OsZ2v  No.5 สมมาตรและปริมาณอนุรักษ์ >>> https://wow.in.th/bF5d9 —————————————- #UniversityPhysics #ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย #ConceptualPhysics #IFNU

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

สเกลาร์เทียม เวกเตอร์เทียม 

#IFConceptualPhysicsNo6  สเกลาร์เทียม เวกเตอร์เทียม  วิธีการนิยามปริมาณทางฟิสิกส์ว่าเป็นปริมาณเทนเซอร์ประเภทใด…  พิเชฐ วณิชชาพงศ์เจริญ, วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน, มหาวิทยาลัยนเรศวร  No.1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) >>> https://wow.in.th/bd6w7  No.2 สมการไคลน์-กอร์ดอน (#KleinGordonEquation) >>> https://wow.in.th/3cOU1  No.3 การอธิบายการวัดใน #กลศาสตร์ควอนตัม (ขั้นต้น)>>> https://wow.in.th/pS2rx  No.4 สถานะของระบบกลศาสตร์ >>> https://wow.in.th/OsZ2v  No.5 สมมาตรและปริมาณอนุรักษ์ >>> https://wow.in.th/bF5d9 —————————————- #UniversityPhysics #ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย #ConceptualPhysics #IFNU

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

Effective thermodynamical system of Schwarzschild-de Sitter black holes from Rényi statistics

           ผู้เขียน : ราชภัฎ นครจินดา, เอกพงษ์ หิรัญสิริสวัสดิ์, ดร.ลัญจกร ตันนุกิจ และ ผศ. ดร. พิทยุทธ วงศ์จันทร์          Authors : Ratchaphat Nakarachinda, Ekapong Hirunsirisawat, Lunchakorn Tannukij […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

สมมาตรและปริมาณอนุรักษ์

#IFConceptualPhysicsNo5 สมมาตรและปริมาณอนุรักษ์ พิจารณาการเคลื่อนที่ของจุดมวลบนแผ่นราบที่ไม่มีแรงเสียดทาน ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำบนจุดมวลเป็นศูนย์ จุดมวลก็จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยโมเมนตัมคงที่ ในที่นี้เราขอเน้นว่าเป็นโมเมนตัมที่คงที่ เพราะถ้าขนาดของมวลมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา อัตราเร็วในการเคลื่อนที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถึงแม้ว่าแรงลัพธ์เป็นศูนย์ ต่อมาถ้าเราสร้างพิกัด 1 เพื่อวัดโมเมนตัมของจุดมวลตามเส้นทางที่จุดหมุนเคลื่อนไป เราจะพบว่าโมเมนตัมของจุดมวลและแรงลัพธ์ที่กระทำต่อจุดมวล (ซึ่งเป็นศูนย์) มีค่าคงที่ ไม่ว่าจุดมวลจะเคลื่อนที่ไปในตำแหน่งใด ๆ ตามเส้นทางการเคลื่อนที่ สิ่งนี้หมายความว่าระบบการเคลื่อนที่นี้มีสมมาตรในการเลื่อนไปตามเส้นตรง การมีสมมาตรก็คือ สภาพการเคลื่อนที่ของระบบซึ่งกำหนดได้ด้วยโมเมนตัมของจุดมวลและแรงลัพธ์ที่กระทำบนจุดมวลไม่เปลี่ยนแปลงภายใต้การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงของจุดมวล จากตัวอย่างง่าย ๆ นี้อาจกล่าวได้ว่า สมมาตรในการเลื่อนไปตามเส้นตรงจะทำให้โมเมนตั้มเชิงเส้นอนุรักษ์ (คงที่) ต่อมาลองพิจารณาวงแหวนที่หมุนรอบแกนตามรูป 1 ถ้าวงแหวนมีสมมาตรภายใต้การหมุนคือ ไม่ว่าจะหมุนกี่รอบก็มีทอร์ก […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

สมมาตรและปริมาณอนุรักษ์

  #IFConceptualPhysicsNo5 สมมาตรและปริมาณอนุรักษ์ พิจารณาการเคลื่อนที่ของจุดมวลบนแผ่นราบที่ไม่มีแรงเสียดทาน ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำบนจุดมวลเป็นศูนย์ จุดมวลก็จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยโมเมนตัมคงที่ ในที่นี้เราขอเน้นว่าเป็นโมเมนตัมที่คงที่ เพราะถ้าขนาดของมวลมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา อัตราเร็วในการเคลื่อนที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถึงแม้ว่าแรงลัพธ์เป็นศูนย์ ต่อมาถ้าเราสร้างพิกัด 1 เพื่อวัดโมเมนตัมของจุดมวลตามเส้นทางที่จุดหมุนเคลื่อนไป เราจะพบว่าโมเมนตัมของจุดมวลและแรงลัพธ์ที่กระทำต่อจุดมวล (ซึ่งเป็นศูนย์) มีค่าคงที่ ไม่ว่าจุดมวลจะเคลื่อนที่ไปในตำแหน่งใด ๆ ตามเส้นทางการเคลื่อนที่ สิ่งนี้หมายความว่าระบบการเคลื่อนที่นี้มีสมมาตรในการเลื่อนไปตามเส้นตรง การมีสมมาตรก็คือ สภาพการเคลื่อนที่ของระบบซึ่งกำหนดได้ด้วยโมเมนตัมของจุดมวลและแรงลัพธ์ที่กระทำบนจุดมวลไม่เปลี่ยนแปลงภายใต้การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงของจุดมวล จากตัวอย่างง่าย ๆ นี้อาจกล่าวได้ว่า สมมาตรในการเลื่อนไปตามเส้นตรงจะทำให้โมเมนตั้มเชิงเส้นอนุรักษ์ (คงที่) ต่อมาลองพิจารณาวงแหวนที่หมุนรอบแกนตามรูป 1 ถ้าวงแหวนมีสมมาตรภายใต้การหมุนคือ […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

Inflationary model in minimally modified gravity theories

ผู้เขียน : จักรกฤษณ์ แสงทวี และ รศ. ดร. คัมภีร์ ค้าแหวน Authors : Jakkrit Sangtawee and Khamphee Karwan ความสำคัญและที่มา/ Motivation and background ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ นับว่าเป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงมาตรฐานทฤษฎีหนึ่งในปัจจุบัน แต่ทฤษฎีนี้มีปัญหาสำคัญ 2 ประการคือ ทฤษฎีนี้ไม่สามารถอธิบายฟิสิกส์ของความโน้มถ่วงที่ระดับควอนตัมได้ และทฤษฎีนี้ไม่สามารถอธิบายการขยายตัวด้วยอัตราเร่งของเอกภพในยุคปัจจุบัน เว้นแต่ว่าจะเพิ่มพลังงานรูปแบบพิเศษในแบบจำลองของเอกภพโดยการขยายตัวด้วยอัตราเร่งของเอกภพในยุคปัจจุบัน เป็นสิ่งที่ยอมรับโดยทั่วไปจากการสังเกตการทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ Einstein’s […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022
1 27 28 29 31