สถานะของระบบกลศาสตร์

#IFConceptualPhysicsNo4 สถานะของระบบกลศาสตร์ลองพิจารณาลูกตุ้มนาฬิกาในรูปที่ 1 แล้วลองพยายามตอบว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งขึ้นหรือลง แน่นอนจากรูปที่ 1 ไม่มีใครสามารถบอกได้ว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งอย่างไร เพราะเรามีข้อมูลไม่เพียงพอ แล้วข้อมูลอะไรบ้างที่เราจำเป็นต้องรู้ เพื่อกำหนดสถานะของระบบทางกลศาสตร์ สิ่งหนึ่งที่เราต้องรู้เพื่อระบุว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งอย่างไรนั้น ก็คือ ความเร็วของลูกตุ้มว่ามีทิศทางอย่างไร มีขนาดเท่าไหร่ เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น ให้เราพิจารณากฎข้อ 2 ของนิวตันดังนี้ F = m a = p’ โดย F คือแรงที่กระทำบนมวล m ซึ่งจะทำให้เกิดความเร่ง a […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

สถานะของระบบกลศาสตร์

  #IFConceptualPhysicsNo4 สถานะของระบบกลศาสตร์ ลองพิจารณาลูกตุ้มนาฬิกาในรูปที่ 1 แล้วลองพยายามตอบว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งขึ้นหรือลงแน่นอนจากรูปที่ 1 ไม่มีใครสามารถบอกได้ว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งอย่างไร เพราะเรามีข้อมูลไม่เพียงพอ แล้วข้อมูลอะไรบ้างที่เราจำเป็นต้องรู้ เพื่อกำหนดสถานะของระบบทางกลศาสตร์ สิ่งหนึ่งที่เราต้องรู้เพื่อระบุว่าลูกตุ้มนาฬิกากำลังแกว่งอย่างไรนั้น ก็คือ ความเร็วของลูกตุ้มว่ามีทิศทางอย่างไร มีขนาดเท่าไหร่ เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น ให้เราพิจารณากฎข้อ 2 ของนิวตันดังนี้ F = m a = p’ โดย F คือแรงที่กระทำบนมวล m ซึ่งจะทำให้เกิดความเร่ง […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

Extreme primordial black holes

Authors: Siri Chongchitnan, Teeraparb Chantavat, Jenna Zunder ความสำคัญและที่มา/ Motivation and background หลุมดำปฐมภูมิเป็นวัตถุที่ได้มีการคาดการณ์ไว้จากทฤษฎีเป็นหลุมดำที่เกิดขึ้นมาในยุคเริ่มต้นของเอกภพก่อนที่จะมีการสร้างดาว และกาแล็กซี่ ดังนั้นกระบวนการก่อกำเนิดหลุมดำปฐมภูมิจึงแตกต่างจากหลุมดำทั่วไปที่ไม่ได้เกิดจากการยุบตัวของดาวขนาดมหึมา แต่เกิดจากการยุบตัวของบริเวณสสารที่มีความหนาแน่นสูงมาก หลุมดำปฐมภูมิเป็นหนึ่งในวัตถุที่อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่เราเรียกว่าสสารมืด และอาจจะเป็นแหล่งกำเนิดของหลุมดำมวลยิ่งยวดได้ด้วย การศึกษาหลุมดำปฐมภูมิเป็นประโยชน์ในการศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีที่สำคัญในทางฟิสิกส์ได้แก่ ทฤษฎีความโน้มถ่วง ทฤษฎีควอมตัม และทฤษฎีอุณหพลศาสตร์ ในงานวิจัยนี้ได้ใช้สถิติค่ายิ่งยวดมาใช้ในการทำนายการกระจายความน่าจะเป็นของหลุมดำปฐมภูมิขนาดมวลยิ่งยวด (extreme primordial black holes) ในค่าเรดชิฟท์ต่าง ๆ Primordial black […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

Covariant M5-brane action with self-dual 3-form

ผู้เขียน : ผศ. ดร. พิเชฐ วณิชชาพงศ์เจริญ Author : Pichet Vanichchapongjaroen ความสำคัญและที่มา/ Motivation and background มีงานวิจัยจำนวนหนึ่งสร้างและนำเสนอ แอคชันยังผลพลังงานต่ำ ที่อธิบายเอ็ม5-เบรนในพื้นหลังความโน้มถ่วงยวดยิ่งสิบเอ็ดมิติ โดยนำเสนอรูปแบบของแอคชันที่แตกต่างกัน แต่แอคชันเหล่านี้ล้วนแต่อธิบายพลวัตแบบเดียวกัน ก่อนจะสร้างแอคชันสำหรับเอ็ม5-เบรน มักจะต้องสร้างแอคชันสำหรับ ไครัล 2-ฟอร์ม หกมิติ ขึ้นมาก่อน ซึ่งเป็นแอคชันที่มีความเรียบง่ายกว่ามาก เทนเซอร์ความเข้มสนามของไครัล 2-ฟอร์ม หกมิติ มีสมบัติความคู่กันในตัว เนื่องจากสมบัตินี้ […]

The Institute for Fundamental Study

February 8, 2022

การอธิบายการวัดในกลศาสตร์ควอนตัม (ขั้นต้น)

#IFConceptualPhysicsNo3 การอธิบายการวัดในกลศาสตร์ควอนตัม (ขั้นต้น) สิ่งหนึ่งที่สำคัญในการศึกษาฟิสิกส์ รวมทั้งกลศาสตร์ควอนตัม คือ การวัดระบบ ในโพสต์นี้ เราจะมาอภิปรายเกี่ยวกับการอธิบายการวัดในกลศาสตร์ควอนตัม โดยจะพิจารณาประเด็นในขั้นต้นเท่านั้น ซึ่งการอธิบายการวัดในกลศาสตร์ควอนตัม เราต้องกล่าวถึงสิ่งที่ต้องการวัดและปริมาณที่ต้องการวัด เราจะพิจารณาการวัดระบบที่แยกเป็นอิสระจนไม่มีอันตรกิริยากับสิ่งแวดล้อม (สิ่งอื่นภายนอกระบบ) แม้ว่าในธรรมชาติไม่มีระบบที่แยกเป็นอิสระโดยสิ้นเชิงกับสิ่งแวดล้อม การศึกษาแบบจำลองของระบบลักษณะนี้ เป็นก้าวแรกที่สำคัญ เนื่องจากเป็นระบบที่อธิบายได้ง่ายที่สุด ในการศึกษาระบบลักษณะนี้ในการทดลอง นักทดลองจะตัดปัจจัยรบกวนจากสิ่งแวดล้อมให้ได้มากที่สุด ส่วนในการศึกษาในทางทฤษฎี ระบบลักษณะนี้อธิบายได้ด้วยปริมาณทางคณิตศาสตร์ที่เรียกว่าเค็ท (ket) ซึ่งเขียนได้เป็นสัญลักษณ์ เช่น |ψ⟩ สำหรับการอธิบายปริมาณที่ถูกวัด เราจะเรียกปริมาณลักษณะนี้ว่า ปริมาณที่สังเกตได้ (observable) ในทางทฤษฎี […]

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022

การอธิบายการวัดในกลศาสตร์ควอนตัม (ขั้นต้น)

#IFConceptualPhysicsNo3 การอธิบายการวัดในกลศาสตร์ควอนตัม (ขั้นต้น) สิ่งหนึ่งที่สำคัญในการศึกษาฟิสิกส์ รวมทั้งกลศาสตร์ควอนตัม คือ การวัดระบบ ในโพสต์นี้ เราจะมาอภิปรายเกี่ยวกับการอธิบายการวัดในกลศาสตร์ควอนตัม โดยจะพิจารณาประเด็นในขั้นต้นเท่านั้น ซึ่งการอธิบายการวัดในกลศาสตร์ควอนตัม เราต้องกล่าวถึงสิ่งที่ต้องการวัดและปริมาณที่ต้องการวัด เราจะพิจารณาการวัดระบบที่แยกเป็นอิสระจนไม่มีอันตรกิริยากับสิ่งแวดล้อม (สิ่งอื่นภายนอกระบบ) แม้ว่าในธรรมชาติไม่มีระบบที่แยกเป็นอิสระโดยสิ้นเชิงกับสิ่งแวดล้อม การศึกษาแบบจำลองของระบบลักษณะนี้ เป็นก้าวแรกที่สำคัญ เนื่องจากเป็นระบบที่อธิบายได้ง่ายที่สุด ในการศึกษาระบบลักษณะนี้ในการทดลอง นักทดลองจะตัดปัจจัยรบกวนจากสิ่งแวดล้อมให้ได้มากที่สุด ส่วนในการศึกษาในทางทฤษฎี ระบบลักษณะนี้อธิบายได้ด้วยปริมาณทางคณิตศาสตร์ที่เรียกว่าเค็ท (ket) ซึ่งเขียนได้เป็นสัญลักษณ์ เช่น |ψ⟩ สำหรับการอธิบายปริมาณที่ถูกวัด เราจะเรียกปริมาณลักษณะนี้ว่า ปริมาณที่สังเกตได้ (observable) […]

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022

Geodesic Compatibility: Goldfish Systems

          Authors : Worapat Piensuk and Asst. Prof. Sikarin Yoo-Kong, Ph.D. (IF)   ความสำคัญและที่มา/ Motivation and background เงื่อนไข “ความสอดคล้องในหลายมิติ” สำหรับระบบอินทีเกรเบิลได้รับความสนใจจากนักวิจัยเป็นอย่างมาก จุดเริ่มต้นของเงื่อนไขนี้มาจากระบบอินทีเกรเบิลไม่ต่อเนื่องซึ่งเงื่อนไขนี้รู้จักกันในชื่อ “ความสอดคล้องรอบลูกบาศก์” อันแสดงให้เห็นว่ามีชุดสมการที่สอดคล้องกันที่นิยามอยู่ในสเปซย่อยของตัวแปรอิสระ และสมการเหล่านี้สามารถถูกเขียนเก็บไว้ได้อย่างสอดคล้องในสเปซหลายมิติ สำหรับระบบที่มีฮามิลโตเนียน เงื่อนไขอินทีเกรบิลิตีของลียูวิวเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขว้าง […]

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022

สมการไคลน์-กอร์ดอน (Klein-Gordon Equation)

#IFConceptualPhysics2 ————————————-  สมการไคลน์-กอร์ดอน ( #KleinGordonEquation )  —————————————-  สมการ ที่มาจากความพยายาม รวมกลศาสตร์ควอนตัมกับทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษเข้าไว้ในสมการเดียวกัน เราจะอภิปรายกันในโพสต์นี้ ว่าความพยายามดังกล่าวนี้ประสบความสําเร็จมากหรือน้อยเพียงใด —————————————–  พิเชฐ วณิชชาพงศ์เจริญ, วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน, มหาวิทยาลัยนเรศวร —————————————–  No.1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) >>> https://wow.in.th/bd6w7 —————————————- #UniversityPhysics #ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย #ConceptualPhysics #IFNU

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022

Klein-Gordon Equation (สมการไคลน์-กอร์ดอน)

#IFConceptualPhysics2  สมการไคลน์-กอร์ดอน ( #KleinGordonEquation )   สมการ ที่มาจากความพยายาม รวมกลศาสตร์ควอนตัมกับทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษเข้าไว้ในสมการเดียวกัน เราจะอภิปรายกันในโพสต์นี้ ว่าความพยายามดังกล่าวนี้ประสบความสําเร็จมากหรือน้อยเพียงใด  พิเชฐ วณิชชาพงศ์เจริญ, วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน, มหาวิทยาลัยนเรศวร  No.1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) >>> https://wow.in.th/bd6w7 #UniversityPhysics #ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย #ConceptualPhysics #IFNU

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022

กฏของเกาส์ (Gauss’s law)

#IFConceptualPhysicsNo1 #กฏของเกาส์ (Gauss’s law) ว่าด้วย ฟลักซ์ไฟฟ้าสุทธิที่ผ่านผิวปิดใดๆ จะแปรผันตรงกับขนาดประจุสุทธิในผิวปิดนั้น โดยที่ฟลักซ์ไฟฟ้ามองง่ายได้ว่าเป็นจำนวนเส้นแรงสนามไฟฟ้าที่ทะลุผ่านพื้นที่หนึ่งหน่วย(ทิศพุ่งออกตั้งฉากกับผิวที่พิจารณา) ดังนั้นจากใจความของกฎของเกาส์ทำให้เรามองได้ว่า หากมีประจุ +q วางอยู่ในผิวปิด S ฟลักซ์ไฟฟ้าที่ทะลุผิวปิด S ก็จะมีค่าค่าหนึ่งที่เป็นบวก(เส้นแรงสนามไฟฟ้าที่มีทิศพุ่งออกจากประจุทะลุผิวปิด S) หากเราเปลี่ยนเอาประจุ +Q ซึ่งมีขนาดโตกว่า +q เอาไปวางแทน ฟลักซ์ไฟฟ้าที่ทะลุผ่านผิวปิด S จะมีค่าบวกโตกว่ากรณีแรก ตรงนี้มองได้ว่าสำหรับกรณีประจุ +Q นั้นจำนวนเส้นแรงสนามไฟฟ้าที่ทะลุผ่านผิวปิดมีค่ามากกว่ากรณีประจุ +q แน่นอนว่าหากเราเปลี่ยนจากประจุบวกเป็นประจุลบทุกอย่างยังเหมือนเดิมเปลี่ยนแค่เครื่องหมายเท่านั้น(เส้นแรงไฟฟ้าที่มีทิศพุ่งเข้าหาประจุทะลุผิวปิด S) […]

The Institute for Fundamental Study

February 7, 2022
1 28 29 30 31